เทคนิคการทำค้างผักแบบต่างๆ

April 28, 2017 No Comments »
เทคนิคการทำค้างผักแบบต่างๆ
Share Button
การทำค้าง ค้าง คือเสาปูนหรือเสาไม้ เพื่อให้ถั่วดาวอินคาเลื้อยพัน เนื่องจากถั่วดาวอินคามีอายุที่ยาว การทำค้างสำหรับถั่วดาวอินคาจึงจำเป็นต้องทำให้ได้มาตรฐาน แข็งแกร่ง ทนทาน และลดการทำงานที่ซ้ำซ้อน คำถามที่พบมากคือ สามารถใช้ไม้ได้ไหม คำตอบคือสามารถใช้ได้ แต่ระยะเวลาอาจจะไม่นาน และต้องเสียเวลาในการเปลี่ยนเรื่อยๆ ในการเปลี่ยนแต่ละครั้งจะมีความยุ่งยากพอสมควร และอาจมีผลกระทบต่อต้นถั่วดาวอินคา ถ้าจะให้คงทนถาวร ควรใช้เสาปูนมาตรฐานในการทำค้าง สูง 2.50 เมตรขึ้นไป ปักลงดินลึก 50 ซม. ปักระยะ 2 – 4 เมตร / ต้น ใช้ลวดเบอร์ 14 หรือสายโทรศํพท์ (ใช้สายโทรศัพท์จะถูกกว่า และดีกว่า เพราะไม่ร้อน ยอดถั่วไม่ตาย) ขึงตามแบบค้างที่เลือก

ถั่วดาวอินคา Sacha Inchi พืชอินทรีย์ สุขภาพและความงาม โอเมก้า โอเมก้าบนดิน ต้นเศรษฐี เกษตรอินทรีย์ พืชน้ำมัน พืชเศรษฐกิจ พืชใหม่ พืชมาแรง พืชสมุนไพร พืช AEC Omega ปลูกถั่วดาวอินคา ดูแลถั่วดาวอินคา ค้างถั่วดาวอินคาถั่วดาวอินคา Sacha Inchi พืชอินทรีย์ สุขภาพและความงาม โอเมก้า โอเมก้าบนดิน ต้นเศรษฐี เกษตรอินทรีย์ พืชน้ำมัน พืชเศรษฐกิจ พืชใหม่ พืชมาแรง พืชสมุนไพร พืช AEC Omega ปลูกถั่วดาวอินคา ดูแลถั่วดาวอินคา ค้างถั่วดาวอินคา

?ค้างแบบต่างๆ? รูปแบบค้าง ขึ้นอยู๋กับเกษตรกรที่จะเลือกให้เหมาะสมกับเงินลงทุน พื้นที่ปลูก ลักษณะพื้นที่ ที่ราบ ที่ราบเชิงเชา เชิงเขา 1. ค้างแบบเสาคู่

ศูนย์บริการถั่วดาวอินคา สวนบ้านหมอ UMB FARM Sacha Inchi พืชอินทรีย์ แบบค้างถั่วดาวอินคา โอเมก้าบนดิน เกษตรอินทรีย์ ค้างแบบเสาคู่ ให้ผลผลิตที่สูง และเก็บผลผลิตง่าย การจัดการต่างๆ สะดวกสบาย ค้างมีความสมดุล ไม่หนักข้างใด ข้างหนึ่ง จนทำให้เสาล้ม แต่ทิศทางแถวในการปลูก ควรอยู่ในแนวทิศตะวันออก – ตะวันตก เพราแสงจะได้ส่องทั่วถึง 2. ค้างแบบตัว A

ศูนย์บริการถั่วดาวอินคา สวนบ้านหมอ UMB FARM Sacha Inchi พืชอินทรีย์ แบบค้างถั่วดาวอินคา โอเมก้าบนดิน เกษตรอินทรีย์ ค้างแบบตัว A ?ค้างแบบนี้ทำง่าย ลงทุนไม่มาก ให้ผลผลิตที่ดีในช่วงแรกๆ แต่พอนานๆ ไป การจัดการเรื่องการตัดแต่ง เก็บผลผลิตยากลำบาก เนื่องจากต้นถั่วดาวอินคาที่ใหญ่ เถาพันกันมากขึ้น 3. ค้างแบบกระโจม

ศูนย์บริการถั่วดาวอินคา สวนบ้านหมอ UMB FARM Sacha Inchi พืชอินทรีย์ แบบค้างถั่วดาวอินคา โอเมก้าบนดิน เกษตรอินทรีย์ ค้างแบบกระโจม ?ค้างแบบนี้คล้ายคลึงกับ แบบตัว A คือ ให้ผลดีในช่วงแรกๆ แต่พอนานๆ ไป การจัดการเรื่องการตัดแต่ง เก็บผลผลิตยากลำบาก เนื่องจากต้นถั่วดาวอินคาที่ใหญ่ เถาพันจะยาวขึ้นไปรวมกันที่ด้านบน 4. ค้างแบบตัว H

ศูนย์บริการถั่วดาวอินคา สวนบ้านหมอ UMB FARM Sacha Inchi พืชอินทรีย์ แบบค้างถั่วดาวอินคา โอเมก้าบนดิน เกษตรอินทรีย์ ค้างแบบตัว H ค้างแบบนี้มักพบในแปลงเพาะปลูกที่มีการลงทุนสูง การจัดการดี วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้เป็นเสาปูน หรือโลหะ สามารถใช้ได้นาน ข้อดีคือเก็บผลผลิตได้มาก และเก็บได้นาน 5. ค้างแบบตัว T

ศูนย์บริการถั่วดาวอินคา สวนบ้านหมอ UMB FARM Sacha Inchi พืชอินทรีย์ แบบค้างถั่วดาวอินคา โอเมก้าบนดิน เกษตรอินทรีย์ ค้างถั่วแบบตัว T เหมาะสำหรับพื้นที่เชิงเขา ไม่ราบเรียบ แต่สามารถประยุกกต์ใช้กับพื้นที่ราบได้เช่นกัน ข้อดีคือ สามารถจัดการได้ง่าย สะดวกในการเก็บผลผลิต ต้องตัดแต่งโคนต้นด้านล่างให้โล่ง และอาจเพิ่มจำนวนเส้นลวดบนเสาได้ 6. ค้างแบบเสารั้ว

ศูนย์บริการถั่วดาวอินคา สวนบ้านหมอ UMB FARM Sacha Inchi พืชอินทรีย์ แบบค้างถั่วดาวอินคา โอเมก้าบนดิน เกษตรอินทรีย์ ค้างแบบเสารั้ว ?พบง่ายได้ทั่วไป และพบมากที่สุด เพราะทำง่าย ให้ผลผลิตที่ดี แต่เมื่อผ่านไป 2 – 3 ปี จะมีปัญหาเรื่องเถาถั่วดาวอินคาที่ยาว ต้องตัดแต่งบ่อยๆ และอาจจะแปลงกลายเป็นแบบหมากฮอตในที่สุด 7. ค้างแบบตารางหมากฮอต

ค้างแบบตารางหมากฮอต ค้างแบบนี้เป็นแบบสุดท้าย ในทุกๆ แบบ เพราะเมื่อเวลาผ่านไป ต้นถั่วดาวอินคาจะมีขนาดใหญ่ เถาถั่วจะเยอะมาก ยาวพันกันไปทั่ว สานกันจนกลายเป็นหลังคาทึบ การตัดแต่งกิ่งจะยากลำบาก ค้างแบบนี้ควรมีการตัดแต่งกิ่งที่ไม่มีผล หรือเล็กลีบออก เพืื่อให้โปร่ง แสงแดดส่องถึงป้องกันการเกิดเชื้อรา Credit:?สอนอาชีพพารวย.com

Related Posts

Leave A Response